ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา ความหมายของศาสนาพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า
ศาสนา ไว้ว่า “ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ
แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น
ๆ “ศาสนาจึงมีความหมายในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต
ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ
๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย
จนแยกกันไม่ออก ความเจริญหรือความเลื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทย
พวกเราชาวพุทธจึงมีหน้าที่จะทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป
หน้าที่สำคัญของชาวพุทธมีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่าง
ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่าง ประวัติพุทธสาวก ในบทนี้ ได้ศึกษา เรื่อง พระอานนท์ พระสารีบุตร
พระโมคคัลลานะ พระราหุล และพระเขมาเถรี
เพื่อวัตถุประสงค์นำแนววิถีชีวิตการประพฤติปฏิบัติของท่านนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของศาสนิกชน อ่านเพิ่มเติม
การบริหารจิตและการเจริญปัญญา
การบริหารจิตและการเจริญปัญญา การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน
ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ
เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ
มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระ
พุทธศาสนา อ่านเพิ่มเติมพระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎก อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัยนอกจากจะเป็นแก้วอันประเสริฐของชาวพุทธแล้ว
พระรัตนตรัยยังเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่ดีที่สุดของชาวพุทธ
ในชีวิตประจำวันของชาวพุทธจะเกี่ยวข้องกับพระรัตนตรัยอยู่เสมอ เช่น อ่านเพิ่มเติม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1.1
หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1) วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา คือ
การบูชาในเดือนมาฆะ คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นคือการประชุมสงฆ์โดยมิได้นัดหมายกันที่เรียกว่า
จาตุรงคสันนิบาต ประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ 2. พระภิกษุ 1,250
องค์
มาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย 3. ภิกษุเหล่านั้น อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)